
เพลงสะพรึง #๒ – เสียงกลองชุดที่บันทึกได้สมจริงมาก.!!!
“เสียงที่สมจริง” หมายถึง ลักษณะของเสียงที่ได้ยินแล้วทำให้เรารู้สึกเหมือนฟังนักดนตรีคนนั้นกำลัง “ออกแรงกระทำ” กับเครื่องดนตรีของเขา
Read Moreสื่อออนไลน์สำหรับคนรักเครื่องเสียง, โฮมเธียเตอร์ และดนตรี
บทความรีวิวและแนะนำอัลบั้มเพลง และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับวงการเพลง
“เสียงที่สมจริง” หมายถึง ลักษณะของเสียงที่ได้ยินแล้วทำให้เรารู้สึกเหมือนฟังนักดนตรีคนนั้นกำลัง “ออกแรงกระทำ” กับเครื่องดนตรีของเขา
Read Moreเป้าหมายของ “เครื่องเสียงที่ดี + เซ็ตอัพที่ดี” คือต้องนำ “แก่นสาระของเพลง” ออกมาให้เราสัมผัสได้อย่างเต็มที่มากที่สุด ซึ่ง “แก่นสาระของเพลง” ก็คือ “อารมณ์” ของบทเพลงที่ศิลปินและกลุ่มผู้เกี่ยวข้องในการจัดทำเพลงนั้นๆ ต้องการนำเสนอ เป็นการถ่ายทอดอารมณ์ของเพลงผ่านออกมาทางเสียงของเครื่องดนตรีที่บรรเลงไปตามโน๊ตและจังหวะทำนองที่ถูกเรียบเรียงเอาไว้
Read Moreโลกนี้จะไร้ซึ่งความน่าพิศมัยถ้ามนุษย์โลกขาดซึ่งความหลงไหลในสิ่งต่างๆ และวงการเครื่องเสียงคงจะไม่ยืนหยัดมาอย่างยาวนานได้จนถึงทุกวันนี้ “ถ้า” มนุษย์ไร้ซึ่งความหลงไหลใน “คุณภาพเสียง” เช่นกัน
Read MoreLiu Da เป็นทั้งซาวนด์เอนจิเนียร์และโปรดิวเซอร์ชาวจีนที่ทำงานบันทึกเสียงแบบเน้นคุณภาพเสียงลักษณะเดียวกับสังกัดไฮเอ็นด์ฯ ทั่วไป เขาก่อตั้งค่ายเพลงที่ชื่อว่า “DA-CLASSICS” ขึ้นมาเมื่อปี 2009 (สำหรับงานชุดนี้ใช้ชื่อสังกัด DR Master Art) อัลบั้มชุด DR Classics – 10th Anniversary Best Recordings Gala ชุดนี้ เป็นอัลบั้มที่รวบรวมงานเพลงจำนวน 10 เพลง ซึ่งตัดออกมาจากอัลบั้มที่ Liu Da เข้าไปมีส่วนร่วมในการผลิต บางอัลบั้มนั้นเขาเข้าไปทำหน้าที่โปรดิวเซอร์ให้ …
Read Moreหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ทั่วโลกเริ่มปรับเปลี่ยนจากวิถีชีวิตที่เคร่งเครียดจากสภาวะสงครามเข้าสู่ยุคฟื้นฟู ทุกอย่างรอบตัวถูกดึงให้ช้าลง เปิดโอกาสให้มีเวลาสนใจกับความสวยงามของสิ่งรอบข้างมากขึ้น เป็นช่วงเวลาที่ประชาชนต้องการความสงบ สวยงาม เพื่อลบความทรงจำที่โหดร้ายในช่วงสงครามให้เลือนหายไป
Read Moreทิ้งระยะไปยาวนานหลายเดือน หลังจากจบ ตอนแรก ในการกล่าวถึง ‘Ummagumma‘ สตูดิโออัลบั้มชุดที่ 4 ของคณะดนตรี พิงค์ ฟลอยด์ (Pink Floyd) ตอนที่ 2 ก็เขียนไว้คาราคาซัง สมาธิกระเจิดกระเจิงโฟกัสไปเรื่องอื่นๆ อย่างกระจัดกระจาย เพราะการเขียนหนังสือหากไม่มีสมาธิและใจทุ่มเต็มที่ จะออกมาไม่ดี จึงพักไว้ก่อน เพราะจะเสียศรัทธาจากคนอ่านได้
Read Moreเพลงบรรเลงสไตล์เอื่อยเฉื่อยเพลงนี้ใช้เสียงเครื่องดนตรีประเภทดีด (กีต้าร์โปร่ง และกีต้าร์ไฟฟ้า) กับเครื่องดนตรีประเภทเคาะ (เปียโน และเซเลสต้า) ที่ให้โทนเสียงย่านกลางสูงขึ้นไปถึงแหลมจำนวนหลายเสียงมาเรียบเรียงประสานร้อยเป็นกลุ่มก้อนเข้าด้วยกันได้อย่างสวยงามลงตัวเป็นอย่างยิ่ง
Read Moreสมัยเรียนรามฯ ผมได้ยินเพลง “Turn Back The Clock” จากรายการวิทยุแล้วรู้สึกชอบมาก จังหวะมันสนุก ฟังง่าย เอาไปแนะนำรุ่นพี่ที่เป็นผีเพลง เขาได้ยินแล้วกลับส่ายหน้าเบ้ปาก บอกว่ามันเป็นเพลงป๊อบว่ะไอ้น้อง! ฟังแล้วเลี่ยน..!!
Read More[1] ความหมายและการทดลองก้าวล้ำ คณะดนตรีพิงค์ ฟลอยด์ (Pink Floyd) อยู่ในสภาวะหลักลอย และไม่สามารถค้นพบแนวทางที่ฉีกและแตกต่างออกไปจากยุคเริ่มต้นได้อย่างรวดเร็ว ยังคาราคาซังกับยุคหลัง ซิด บาร์เร็ตต์ (Post–Syd Barrett) ซึ่งเป็นคนชี้นำทิศทางดนตรีและความคิดของวงมาตั้งแต่แรกเริ่ม
Read Moreโอเค.. ก็เข้าใจนะว่าอัลบั้มเพลงของสังกัดคอมเมอร์ชั่นทั่วไปยังไงๆ แล้ว ถ้าจะวัดกันในแง่ “คุณภาพเสียง” ก็คงจะสู้อัลบั้มเพลงที่ผลิตโดยค่ายเพลงที่ตั้งใจทำมาเพื่อป้อนตลาดนักเล่นฯ เครื่องเสียงอย่างแน่นอน แต่ก็สงสัยมาตลอดว่า ถ้าอัลบั้มเพลงของสังกัดคอมเมอร์เชี่ยลบันทึกเสียงมาแย่ขนาดทนฟังกันไม่ได้ เสียงหยาบแยงแทงหูจนเลือดซิบๆ ถ้าเสียงมันแย่ขนาดนั้นจะไปมองหา “ความเป็นดนตรี” มาจากไหน? ทั้งๆ ที่หลายๆ อัลบั้มได้รับรางวัลมากมาย ทั้ง Top 100 ทั้งรางวัล แกรมมี่ อะวอร์ด รวมถึงคำวิจารณ์เชิงบวกจากนิตยสารเพลงอีกเยอะแยะ ถ้าเสียงของมันแย่มากๆ คนพวกนั้นเค้าให้รางวัลได้ยังไง?
Read More