
“ความลับจักรวาล” สำหรับการทำให้ได้มาซึ่ง “เสียงดี” (*)
“เสียง” ที่เราได้ยินจากชุดเครื่องเสียง เป็น “ผลรวม” จากการทำงานผสานกันระหว่างอุปกรณ์เครื่องเสียง 3 ส่วนหลัก นั่นคือ SOURCE + AMP + SPEAKER
Read Moreสื่อออนไลน์สำหรับคนรักเครื่องเสียง, โฮมเธียเตอร์ และดนตรี
“เสียง” ที่เราได้ยินจากชุดเครื่องเสียง เป็น “ผลรวม” จากการทำงานผสานกันระหว่างอุปกรณ์เครื่องเสียง 3 ส่วนหลัก นั่นคือ SOURCE + AMP + SPEAKER
Read Moreยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนอยู่บ้าง ระหว่างความหมายของ “ไดนามิกเร้นจ์” กับ “ความดัง” ซึ่งทั้งสองคำนี้มีความหมายต่างกัน
Read Moreเมื่อไหร่จึงเรียกว่าเสียง “ทึบ“, ตอนไหนที่เรียกว่าเสียง “กังวาน” และแบบไหน ยังไงที่เรียกว่าเสียง “ก้อง” ???
Read More“Rhythm” หมายถึง “จังหวะ” ของเพลง เราไม่ได้ยินมันโดดๆ แต่มันเป็นองค์ประกอบสำคัญอยู่ในทุกเพลง เป็นแกนกลางที่นักดนตรีทุกคนจะต้องยึดเป็นหลักในการบรรเลง จังหวะ (Rhythm) คือ เวลา (Timing) ที่เปลี่ยนแปลงไปด้วยความเร็วที่คงที่ ถูกกำหนดโดยเมโธโนม ซึ่งแต่ละเพลงจะมีจังหวะของมันเอง (ช้ามาก–ช้า–ปานกลาง–ค่อนข้างเร็ว–เร็ว–เร็วมาก)
Read Moreเพราะมาตรฐานของไฟฟ้าที่การไฟฟ้าส่งเข้ามาในบ้านของเราเป็นแบบ 2 ขา คือ Line กับ Nuetral ไม่มีสายกราวนด์มาให้ จึงเป็นหน้าที่ของเราที่ต้องทำการติดตั้งสายกราวนด์เพิ่มเติมเข้าไปเอง ซึ่งวิธีการที่ถูกต้องคือต้องทำการตอกแท่งกราวนด์ทองแดงลงไปในดิน แล้วต่อสายกราวนด์จากแท่งทองแดงขึ้นไปเชื่อมต่อไว้ที่ “ขั้วต่อสายดิน” (Grounding Terminal Bar) ที่อยู่ใน “ตู้เมนสวิทช์” หรือตู้เมนไฟที่อยู่ในบ้านเรา
Read Moreวงจรตัดแบ่งความถี่ในลำโพง เปรียบเหมือน “มันสมอง” ของลำโพง มันทำหน้าที่ตัดแบ่งความถี่เสียงทั้งหมดออกเป็นช่วงๆ (bandwidth of frequency) ที่เหมาะสมกับไดเวอร์แต่ละตัว แล้วจัดส่งความถี่แต่ละช่วงเหล่านั้นไปให้ไดเวอร์แต่ละตัวที่ติดตั้งอยู่ในลำโพงคู่นั้น ซึ่งนอกจากจะช่วยจัดสรรความถี่ให้แต่ละไดเวอร์แล้ว วงจรเน็ทเวิร์คยังช่วยปรับความไวที่ต่างกันของแต่ละไดเวอร์ให้ได้ความดังออกมาเท่าๆ กัน (ทำ level matching) อีกทั้งยังช่วยปรับโหลดของไดเวอร์ทั้งหมดให้ผสมรวมออกมาเป็นโหลดเฉลี่ย (average load impedance) ที่นิ่ง ทำให้แอมปลิฟายทำงานได้ง่ายขึ้น ได้ประสิทธิภาพสูงที่สุด
Read Moreหลังจากเทคโนโลยีดิจิตัลก้าวล่วงเข้ามาในวงการเครื่องเสียง เราก็จำต้องเปิดบ้านต้อนรับอุปกรณ์ไอทีที่เคยใช้กับวงการคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในชุดเครื่องเสียงมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ยุค CAS (Computer As Source) นั่นคือ คอมพิวเตอร์, external DAC ที่ใช้การเชื่อมต่อผ่าน USB interface) และสาย USB จนมาถึงตอนนี้ เมื่อเข้าสู่ยุคที่เราต้องฟังเพลงผ่านระบบ network streaming เราก็จำเป็นต้องเปิดประตูบ้านต้อนรับอาคันตุกะใหม่ๆ จากวงการไอที เข้ามาร่วมหอกับวงการเครื่องเสียงเพิ่มขึ้นอีกพะเรอเกวียน ยกกันมาเป็นขบวน เริ่มตั้งแต่ router มาถึงสายแลน และสมาชิกตัวใหม่ล่าสุดนั่นคือ “network switch”
Read Moreใครเคยฟังอัลบั้มที่ชื่อว่า Etta ชุดนี้บ้าง.? อือมม.. ผมอาจจะใช้คำถามไม่ถูก จริงๆ แล้วผมควรจะต้องใช้คำถามว่า ใครที่คิดว่าเคยได้สัมผัส “ตัวตน” ที่แท้จริงของอัลบั้มชุดนี้มาแล้วบ้าง.? มากกว่า
Read MoreUpdated 27-03-20: DTS Play-Fi คืออะไร.? เปรียบเทียบง่ายๆ ให้เห็นภาพแบบนี้ ถ้าสมมุติ “รถบรรทุก” เปรียบเทียบเป็น “อุปกรณ์เครื่องเล่นมิวสิคสตรีมมิ่ง” ส่วน “สินค้า” ที่ขนส่งกันไป–มาบนรถบรรทุกคันนั้น เปรียบเทียบเป็น “คอนเท็นต์” หรือไฟล์เพลงที่ดึงมาจากอินเตอร์เน็ต/เน็ทเวิร์ค ที่นี้ก็ต้องมีส่วนที่สามที่มีความจำเป็นมากในการที่จะทำให้รถบรรทุก (เครื่องเล่นสตรีมเมอร์) สามารถเคลื่อนย้ายสินค้า (คอนเท็นต์) ไปสู่ปลายทางที่ต้องการได้ นั่นก็คือ “ถนน” ซึ่งก็คือสิ่งที่ DTS Play-Fi ทำในระบบเน็ทเวิร์คสตรีมมิ่ง ก็คือ “แพลทฟอร์ม” …
Read Moreก่อนอื่น ต้องวิเคราะห์ให้ชัดเจนก่อนว่า คำว่า “เวทีเสียงเอียง” หมายถึงอะไรกันแน่.? เพราะว่าความรู้สึกว่าเวทีเสียงเอียงไปด้านใดด้านหนึ่งนั้น มันเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ ลักษณะแรกคือเกิดจากความผิดปกติที่จุดใดจุดหนึ่งในชุดเครื่องเสียง กับอีกลักษณะเกิดจากลักษณะการบันทึกเสียงของเพลงนั้นๆ
Read More