การปะทะกันของอัลบั้ม “Dark Side Of The Moon” – ยกที่ 4 ระหว่างเวอร์ชั่น EMI 1994 Digital Remastered กับเวอร์ชั่น 2011 Pink Floyd Music (50999 028955 2 9)

เวอร์ชั่นสุดท้ายที่ท้าชิงกับเวอร์ชั่นฉลองครบรอบ 20 ปีของอัลบั้มชุด Dark Side Of The Moon ที่ค่าย EMI United Kingdom ทำออกมาโดยมี Doug Sax รับหน้าที่ทำมาสเตอริ่งที่ The Mastering Lab ก็คือเวอร์ชั่นที่ James Guthrie รับหน้าที่ทำมาสเตอริ่งเมื่อปี 2011 ซึ่งแผ่นซีดีที่ผมมีเป็นแผ่นที่บรรจุอยู่ในบ็อกเซ็ต Discovery รวมอยู่กับงานเพลงอีก 13 อัลบั้มของ Pink …

Read More

การปะทะกันของอัลบั้ม “Dark Side Of The Moon” – ยกที่ 2 ระหว่างเวอร์ชั่น EMI 1994 Digital Remastered กับเวอร์ชั่น Harvest

การเรียงเพลงใน booklet (สมุดปก) ของเวอร์ชั่น EMI ระบุว่ามีแทรคทั้งหมด 9 แทรค แบบเดียวกับเวอร์ชั่น Harvest แต่พอใส่แผ่นเข้าไปในเครื่อง กลับพบว่ามีแทรคอยู่ทั้งหมด 10 แทรค สรุปคือในเวอร์ชั่น EMI แยกเพลง Speak To Me กับ Breathe ออกเป็นสองแทรคแบบเดียวกับเวอร์ชั่นโมบายฯ นั่นเอง การระบุแทรคใน booklet กับบนตัวแผ่นไม่ตรงกัน

Read More

การปะทะกันของอัลบั้ม “Dark Side Of The Moon” – ยกที่หนึ่ง

คู่แรกของรายการ เป็นการดวลกันระหว่างแผ่นซีดีของสังกัด Harvest (Made in Japan) เบอร์แผ่น CDP 7 46001 2 กับแผ่นซีดีของสังกัด Mobile Fidelity Sound Lab (1988 Digital Remaster, Made in USA) เบอร์แผ่น UDCD 517

Read More

‘Ummagumma’ – เสพสังวาสดนตรีสโมสร ของ พิงค์ ฟลอยด์ [Part II]

ทิ้งระยะไปยาวนานหลายเดือน หลังจากจบ ตอนแรก ในการกล่าวถึง ‘Ummagumma‘ สตูดิโออัลบั้มชุดที่ 4 ของคณะดนตรี พิงค์ ฟลอยด์ (Pink Floyd) ตอนที่ 2 ก็เขียนไว้คาราคาซัง สมาธิกระเจิดกระเจิงโฟกัสไปเรื่องอื่นๆ อย่างกระจัดกระจาย เพราะการเขียนหนังสือหากไม่มีสมาธิและใจทุ่มเต็มที่ จะออกมาไม่ดี จึงพักไว้ก่อน เพราะจะเสียศรัทธาจากคนอ่านได้

Read More

‘Ummagumma’ – เสพสังวาสดนตรีสโมสร ของ พิงค์ ฟลอยด์ [Part I]

[1] ความหมายและการทดลองก้าวล้ำ คณะดนตรีพิงค์ ฟลอยด์ (Pink Floyd) อยู่ในสภาวะหลักลอย และไม่สามารถค้นพบแนวทางที่ฉีกและแตกต่างออกไปจากยุคเริ่มต้นได้อย่างรวดเร็ว ยังคาราคาซังกับยุคหลัง ซิด บาร์เร็ตต์ (Post–Syd Barrett) ซึ่งเป็นคนชี้นำทิศทางดนตรีและความคิดของวงมาตั้งแต่แรกเริ่ม

Read More

พิงค์ ฟลอยด์ ‘More’ มากกว่า ‘คัลต์’ ปลดปล่อยอย่างอิสระ… เสรีผ่านสายลม แสงแดด ดนตรี ยาเสพติด และเซ็กซ์ [End]

[1.] ‘ฉันกำลังยืนอยู่ที่แม่น้ำไนล์ เมื่อฉันเห็นสุภาพสตรีแย้มยิ้ม ฉันจะพาเธอออกไปสักพัก สักพักหนึ่ง น้ำตาของฉันหลากไหลร้องไห้เฉกเช่นเด็กน้อย เธอผู้มีผมสีทองและสายลมเป่าสยาย เมื่อนั้นเธอจะกางปีกเพื่อที่จะโบยบิน เพื่อที่จะโบยบิน ทะยานสูงเหนือสายลมโบกพัด ลอยลมไปสู่ที่ซึ่งเธอพึงใจ เธอจะทำให้หมู่เกาะอยู่ในดวงตะวัน ฉันจะตามติดไปในเงาของเธอ วันหนึ่งฉันจะสบตากับเธอ เธอเพรียกร้องจากที่ลึกล้ำ ปลุกเรียกวิญญาณของฉันที่กำลังหลับไหลไม่รู้จบ เธอผูกลากฉันลงไป ผูกลากฉันลงไป…’

Read More

พิงค์ ฟลอยด์ More มากกว่า คัลต์ – ปลดปล่อยอย่างอิสระ… เสรีผ่านสายลม แสงแดด ดนตรี ยาเสพติด และเซ็กซ์ [Part II]

การแข่งขันและแสดงออกถึงความเป็นดนตรีหัวก้าวหน้า บุกเบิกในด้านความคิดสร้างสรรค์ที่ไม่เคยมีใครทำมาก่อน ทำให้ปลายยุคทศวรรษที่ 60 ขึ้นต้น 70 อบอวลด้วยดนตรีที่หลากหลายและร้อนแรง เมื่อมองให้ลึกลงไปถึงภาวการณ์ของความกระตือรือร้นในการรังสรรค์งานดนตรีให้ไปข้างหน้า ด้วยพลังสร้างสรรค์ใหม่เพื่อค้นรูปแบบศิลปะดนตรีที่แหวกออกไป ภายใต้ศาสตร์ของดนตรีร๊อคในช่วงต้นยุคทศวรรษที่ 70 ซึ่งมีแรงเหวี่ยงอย่างมหาศาลมาจากยุคหัวก้าวหน้าและปัญญาชนที่เปลี่ยนรุ่นมาสู่คนรุ่นใหม่หลังยุคเบบี้บูมหรือหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

Read More

พิงค์ ฟลอยด์ ‘More’ มากกว่า ‘คัลต์’ – ปลดปล่อยอย่างอิสระ… เสรีผ่านสายลม แสงแดด ดนตรี ยาเสพติด และเซ็กซ์ [Part I]

[1] ออสซี่ ออสบอร์น (Ozzy Osbourne) นักร้องนำและคนเขียนเพลงในวงฮาร์ดร๊อคระดับตำนานของอังกฤษ อย่าง แบล๊ค ซับบาธ (Black Sabbath) ซึ่งต่อมากลายเป็นศิลปินเดี่ยวสายร๊อคผู้ทรงอิทธิพลและสร้างแรงบันดาลใจในแวดวงดนตรีฮาร์ดร๊อคและเมทัล ได้เคยเขียนถึงวงพิงค์ ฟลอยด์ (Pink Floyd) อย่างหมิ่นแคลนและเสียดสีใน ‘I Am Ozzy’ หนังสืออัตชีวประวัติของตัวเขาเองว่า “พิงค์ ฟลอยด์ เป็นดนตรีสำหรับบรรดาเด็กมหา’ลัยที่รวยๆ แต่พวกเราเป็นรูที่เอากันก็แค่นั้น ซึ่งแน่ชัดว่าอยู่ฝั่งตรงข้ามกับดนตรีเหล่านั้น”

Read More

‘A Saucerful of Secrets’ [End] – จุติอย่างแท้จริงในนาม พิงค์ ฟลอยด์

ความแตกต่างในรอยทางเดียวกันที่พยายามค้นหาเส้นทางแตกแยกสายออกไป เพื่อจะทำให้เกิดรูปแบบหรือสไตล์สำหรับปัจจุบันและอนาคต ไม่ใช่การทิ้งอดีตแต่เป็นการเลือนจางเพื่อไปสู่สิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ‘A Saucerful of Secrets’ จึงเป็นคำตอบปลายเปิดของการเกิดขึ้นในมโนคติทางดนตรีแบบใหม่ แต่เชื่อมรอยต่อของอัลบั้มชุดแรกอย่างไม่ตัดขาดกัน ถือเป็นการเริ่มการเดินทางเข้าไปสู่ความไม่มีกฎตายตัวทางดนตรี คืบเคลื่อนสู่พลังขับเคลื่อนทางดนตรีของสมาชิกทั้งหมดในวงไม่ผูกติดไว้ที่ใครเพียงหนึ่งเดียว

Read More

‘A Saucerful of Secrets’ [Part II] – ส่งผ่านยุคไซเคเดลิค ร๊อค สู่มโนคติใหม่ทางดนตรี

[1] เปลี่ยนผ่านสู่ความงอกงามทางดนตรีของ พิงค์ ฟลอยด์ ‘A Saucerful of Secrets’ เป็นอัลบั้มที่เริ่มแสดงถึงวิวัฒนาการทางเสียงและแนวดนตรี เป็นจุดสิ้นสุดยุคของ ซิด บาร์เร็ตต์ การก่อเกิดปฐมบทของ เดวิด กิลมอร์ สะท้อนกลับภาพดนตรีและสุนทรียศาสตร์ที่แตกต่างออกไป

Read More